หักภาษี ณ ที่จ่ายให้ถูกวิธีกับสรรพากร” ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

หักภาษี ณ ที่จ่ายให้ถูกวิธีกับสรรพากร” ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

เป็นการจ้างแรงงาน หรือเนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำ (เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40. (1) และ (2)) สามารถจ่ายภาษีเงินได้ให้แก่รัฐได้ (มาตรา 50 (1))

ผู้จ่ายเงินได้ (ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย) คือ เงินภาษีที่ผู้จ่ายเงินจะหักออกจากเงินที่จะจ่ายให้กับผู้รับ โดยผู้จ่ายเงินมีหน้าที่นำเงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย นำส่งให้กับสรรพากร ส่วนผู้รับเงินก็จะได้รับหนังสือรับรองการหัก ณ ที่จ่าย จากผู้จ่าย เพื่อเป็นหลักฐานในการยื่นแบบภาษีกับสรรพากรว่าได้ชำระภาษี ในรูปแบบของภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่ทยอยจ่าย ...

ผู้มีเงินได้ (ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย) คือ ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย หรือ หัก ณ ที่จ่าย คือเงินที่คน “จ่าย” ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือนิติบุคคลต้อง “หัก” ไว้ก่อนที่จะจ่ายเงินให้กับคนรับที่เป็นนิติบุคคล หรือคนธรรมดาก็ได้ แล้วนำส่งเป็นภาษีให้กรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

>>ผู้จ่ายเงินได้ (ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย) จ่ายเงินได้พึงประเมิน + หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ผู้มีเงินได้ (ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย)<<

4 ประเด็นหลัก

1. ใคร? ผู้จ่ายเงินได้
2. จ่ายเงินได้อะไร? (ประเภทเงินได้)
3. ให้แก่ใคร? ผู้มีเงินได้ที่ถูก WT
4. ต้องหักอย่างไร? วิธีการค านวณ WT


ขอบคุณบทความจาก :: https://www.rd.go.th  หรือ Click
ประกาศบทความโดย :: www.prosofterp.com 
 1123
ผู้เข้าชม
Get started for free today. ทดลองใช้งาน

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์